คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง หรือชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆ สามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ มีศักยภาพสูงในการคำนวณประมวลผลข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเลข รูปภาพตัวอักษร และเสียง
ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
หมายถึง ส่วนที่ประกอบเป็นคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน คือ
1. หน่วยรับข้อมูลเข้า (Input Unit) เป็นวัสดุอุปกรณ์ ที่นำมาเชื่อมต่อ ทำหน้าที่ป้อนสัญญาณเข้าสู่ระบบเพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ ทำงานตามความต้องการ ได้แก่
-แป้นอักขระ (Keyboard)
-แผ่นซีดี (CD -Rom)
-ไมรโคโฟน(Microphome)
2. หน่วยประมวลผลกลาง(central processing Unit)
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทั้งทางตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ
3. หน่วยความจำ (Memory Unit)
ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังประมวลผลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลแล้วเพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผล
4. หน่วยแสดงผล (oUtput Unit)
ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือผ่านกานคำนวณแล้ว
5. อุปกรณืต่อพ่วงอื่นๆ (Peripheral Equipment)
เป็นอุปกรณืที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้นเช่น โมเด็ม(modem) แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นต้น
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1. มีความเร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่งได้รวดเร็วเพียงชั่ววินาที จึงใช้ในงานคำนวณต่างๆได้อย่างรวดเร็ว
2.มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง ทำงานได้ 24 ชม. ใช้แทนกำลังคนได้มาก
3.มีความถูกต้องแม่นยำ ตามโปรฉกรมสั่งงานและข้อมูลที่ใช้
4.เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลือกเนื้อที่เก็บเอกสาร
5.สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งผ่านระบบเครือข่ายได้อย่างรวดเร็วช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน
ระบบคอมพิวเตอร์
หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆกับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงของผู้ใช้งานให้มากที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี ระบบทะเบียน ราษฎร์ ระบบทะเบียนการค้า ระบบเวช ระเบียนของโรงพยาบาลเป็นต้น การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้สามารถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบจากการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพจะประกอบด้วยส่วนสำคัญ 4 ส่วน ดังนี้
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หรือส่วนเครื่อง
2. ซอร์ฟแวร์ (Software) หรือส่วนชุดคำสั่ง
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
หมายถึงตัวเครื่องและอุปรณ์ส่วนต่างๆที่เราสามารถสัมผัสและจับต้องได้
ประกอบด้วย 4 ส่วน
1.ส่วนประมวลผล (processor)
2.ส่วนความจำ(Memory)
3.อุปกรณ์รับเข้าและส่งออก (Input-Output Devices[p)
4.อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูล(Storage Device)
ส่วนที่1. CPU
CPU เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เปรียบเสมือนสมอง
มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ประมวลผลและเปรียบเทียบข้อมูลโดยทำการเปลี่ยนแปลงข้อมูลดิบและแปลงให้เป็นสารสนเทศที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ความสามารถของ CPU พิจารณาจากความเร็วของการทำงาน การรับส่งข้อมูลอ่านและเขียนข้อมูลในหน่วยความจำ ความเร็วของ CPU ขึ้นอยู่กับตัวให้จังหวะที่เรียกว่าสัญญาณนาฬิกาเป็นความเร็วของจำนวนรอบสัญญาณใน 1 วินาที มีหน่วยเป็น เฮิร์ต (HZ) เช่น สัญญษณความเร็ว 1 ล้านรอบใน 1 วินาที เทียบเท่าความเร็วสัญญาณนาฬิกา 1 จิกะเฮิร์ต
ส่วนที่2 หน่วยความจำ
จำแนกออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1.หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
2. หน่วยความจำสำรอง ()
1. หน่วยความจำหลัก
เป็นหน่วยเก็บข้อมูลและคำสั่งต่างๆของเครื่องคอมพิวเตอรื ประกอบด้วย
ชุดความจำข้อมูลที่สามารถบอกตำแหน่งที่เก็บข้อมูลข้อมูลจะถูกนำไปเก็บไว้และสามารถนำออกมาใช้ในการประมวลผลภายหลัง CPU ทำหน้าที่ในการนำข้อมูลเข้าและนำออกจากหน่วยความจำ
การทำงานของคอมพิวเตอรืต้องใช้พื้นที่ของหน่วยความจำในการทำงานประมวลผลและเก็บข้อมูล ขนาดของความจุของหน่วยความจำ คำนวณได้จากค่าจำนวนพื้นที่ที่สามารถใช้ในการเก็บข้อมูลจำนวนพื้นที่คือจำนวนข้อมูลและขนาดของโปรแกรมที่สามารถเก็บข้อมูลได้สูงสุด พื้นที่หน่วยความจำมีมากจะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้มากเวยิ่งขึ้น
หน่วยประมวลผลกลาง CPU
มีความหมายทางด้านฮาร์ดแวร์ คือ
1. ชิป(Chip) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์
2.ต้วกล่องเครื่องที่มี CPU บรรจุอยู่
1. หน่วยความจำหลัก
แบ่งได้ 2 ประเภทคือ หน่วยความจำแบบ "แรม"
และหน่วยความจำแบบ รอม (ROM)
1.1 หน่วยความจำแบบ แรม (Pam)
(RAM=Random Access Memory)
เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูล ข้อมูลหรือแฟ้มข้อมูลจะถูกเก็บไว้ชั่วคราวขณะทำงาน ข้อมูลที่หน่วยความจำจะอยู่ได้นานจนกว่าจะปิดเครื่องหรือไม่มีกระแสไฟฟ้าป้อนให้กับเครื่อง เราเรียก
1.2 หน่วยความจำแบบ รอม (Rom = Read Only Memory ) เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ข้อมูลที่ถาวรไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่ป้อนให้กับวงจร ยอมให้ CPU อ่านข้อมูลหรือโปรแกรมไปใช้งานอย่างเดียวไม่สามารถเขียนข้อมูลลงไปเก็บไว้ได้โดยง่ายส่วนใหญ่ใช้เก็บโปรแกรมควบคุม เรียกว่า หน่วยความจำแบบไม่ลบเลือน
หน่วยความจำสำรอง(Secondary Memory Unit)
หรือหน่วยเก็บข้อมูลรองเป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอดไปหลังจากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว
หน่วยความจำสำรองมีหน้าที่หลัก คือ
1.ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
2.ใช้ในการเก็บข้อมูล โปรแกรมไว้อย่างถาวร
3.ใช้ในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
ประโยชน์หน่วยความจำสำรอง
จะช่วยแก้ไขปัญหาการสูญหายของข้อมูลอันหนึ่งมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผลเมื่อเรียบร้อยแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะถุกนำไปเก็บไว้หน่วยควาวมจำหลักประเภทแรม หากมีปัญหาทางไฟฟ้า อาจทำให้ข้อมูลสูญหายจึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำสำรอง เพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไปหน่วยความจำนี้ส่วนใหญ่พบในรูปสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลภายนอกเช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึก ชิปดิสก์ ซีดีรอม ดีวีดี เทปแม่เหล็ก หน่วยความจำแบบแฟลช หน่วยความจำรองนี้ ถึงจะไม่มีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ยังส่ามารถได้ตามปกติ
ส่วนแสดงผลข้อมูล
คือส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้อุปกรณ์ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่ จอภาพ (Monitor) เครื่องพิมพ์ (Printer) เครื่องพิมพ์ภาพ (Ploter) และลำโพง (Speaker) เป็นต้น
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (PEOPLEWARE)
คนที่มีความรู้ความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่นอาจจะประกอบด้วยคนเพียงคนเดียว หรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบโครงสร้างของหน่วยงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์
1.ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2.ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3.ฝ่ายปฎิบัติงานเครื่องและบริการ
บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1. หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์(EDP Manager)
2.หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน (System Analyst หรือ AS)
3.โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
4. ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ คือการลำดับขั้นตอนการทำงานคำสั่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมนำมารวมกันให้สามมารถนำมาทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณตามที่ต้องการ
หน้าที่ของซอฟต์แวร์
ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มรซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามมารถแบ่งออกได้หลายประเภท
ประเภทของซอฟต์แวร์แบ่งออกได้ 3 ระบบคือ
1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Sofward)
2.ซอฟต์แวร์ประยุคต์ (Applicotion)
3.ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ
1.ซอฟต์แวร์ระบบเป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาใช้จัดการระบบ หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบคือ ดำเดินงานเพื่อฐานต่างๆ ของคอมพิวเตอร์เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปรความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูลไปแสดงบนจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์จัดก่ารข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลในหน่วยความจำรอง
ซอฟต์แวร์ระบบ หรือดปรแกรมที่รู้จักกันดีก็คือ DOS,Windows,Unix,Linux,รวมทั้งโปรแกรมแปรคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic ,Fortran,Panscal,Cobol,C เป็นต้น
นอกจากนี้ดปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton's Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน
หน้าที่ของซอฟต์แวร์ระบบ
1.ใช่ในการจักการรับเข้าและส่งออก เช่นรับรู้การกดแป้นต่างๆ บนแผงแป้นอักขระ ส่งระหัดด้วยอัการออกส่งออกเม้า ลำโพงเป็นต้น
2.ใช้ในการจักการหน่วยความจำ เผื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุเป็นหน่วยความจำหลัก หรือในทำนองกลับกัน คือนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบรรทึก
3.ใช่เป็นตำเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์เพื่อให้สามมารถใช้งานได้อย่างง่ายขึ้น เช่นการขอดูข้อมูลพื้นฐานในสารระบบ (Directory ) ในแผงบันทึก การทำสำเนาแฟ้มข้อมูล ซอฟต็แวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกนทั้งไปคือ แบ่งออกเป็นระบบปฏิบัติและระบบแปรภาษา
ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1.ระบบปฏิบัติการ (Operrating System:OS)
ซอฟต์แวร์ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช่กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่น ดอส วินโดวส์ ยูนกสื ลีนุกซ์ และแมกอินทรอซ เป็นต้น
1.ดอส (Disk Operating System:Dos) เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัตฒนามานานแล้ว การจัดงานคือใช้คำสั่งเป็นตัวอัการ ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีตปัจจุบันระบบปฏิบัติการดอสนั้นมีการใช้งานน้อยมาก
2.วินโดวส์ (Windows)เป็นระบบปฏิบัติการพัฒนาต่อจาดดอส ดดยให้ผู้ใช้สามมารถสั่งงานได้ จากเม้ามมากขึ้นแทนการใช้แผนแป้นอักขระเพียงอย่างเดียว นอกจากนี้ระบบปฏิบัติการวินดดวส์ยังสามมารถใช้งานพร้อมกันได้ ดดยงานแต่ระงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่าสงบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก
3.3.ยูนกสื (Unix) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิกส์คอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เปผ็นระบบปฏิบัติการที่ใช้แบบเปิด (Open system)ซิ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบไดระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ที่เนยี่ห้อเดียวกัน ยูนิกส์ยังถุกออกแบบมาเผื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกันที่เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช้ (Multiusers)และสามมารถทำงานได้หลายๆ งานในเวลาเดียวกันในกษณะที่gรียกว่าระบบหลาย
ภารกิจ (Multitasking)นิยมใช้กับเครื่องที่นิบยมป็นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกัน
4.ลีนุกซ์(Linux)เป้นระบบปกิบัติการที่พัฒนามาจากระบบยูนกซ์ เป้นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบันเนื่องจากมีโปรแกรมประยุตย์ต่างๆ ที่ทำงานบนระบบลีนูกซ์จำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งดปรแกรมในกลุ่งของยูนิว (GNU)
ระบบรีนูกซ์ สามมารถทำงานได้บนซีพียูหลายตระกูล เช่น อินเทล (pc Intel)ดิจิตอล (DIGITAL ALPHA Computer) ถึงแม้ว่าในขณะลีนุกซ์
5. แทคอินทอซ (Macvbotossh)เป็นระบบปฏิบัติการกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอซ ส่วนมากนำไปใช้งานกราฟฟิก ออกแบบและจัดแต่งเอกสาร นิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น